ภาวะแทรกซ้อนของภาวะความดันโลหิตต่ำ

ความดันต่ำ หรือ ความดันโลหิตต่ำ  (Hypotension) ไม่ใช่โรค เพราะลักษณะของอาการไม่ได้พัฒนา และนำไปสู่โรคเรื้อรังอื่น ๆ เป็นเพียงภาวะที่ความดันโลหิตต่ำกว่า 90/60 มิลลิเมตรปรอท เกิดได้กับภาวะความดันต่ำทำให้เลือดไหลเวียนช้าลง ทำให้เกิดลิ่มเลือดอุดตันส่งผลทำให้ไปล่อเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไม่เพียงพอ

ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากความดันโลหิตต่ำ มีดังนี้

การล้ม และการบาดเจ็บที่เกี่ยวข้องกับการล้ม ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่สำคัญที่สุดสำหรับภาวะความดันโลหิตต่ำ เนื่องจากอาจทำให้เกิดอาการวิงเวียนศีรษะ และเป็นลมได้ โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ

ความดันโลหิตต่ำ เกิดจากอะไร? อาการเป็นแบบไหน?

ความดันต่ำ หรือ ความดันโลหิตต่ำ ไม่ใช่โรค เพราะลักษณะของอาการไม่ได้พัฒนา และนำไปสู่โรคเรื้อรังอื่น ๆ เป็นเพียงภาวะที่ความดันโลหิตต่ำกว่า 90/60 มิลลิเมตรปรอท เกิดได้กับภาวะความดันต่ำทำให้เลือดไหลเวียนช้าลง ทำให้เกิดลิ่มเลือดอุดตันส่งผลทำให้ไปล่อเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไม่เพียงพอ

ความดันโลหิตที่เหมาะสมจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน สำหรับตัวบนจะอยู่ที่ 120-129 (mm/Hg) และตัวล่างอยู่ที่ 80-84 (mm/Hg) และมักแสดงอาการออกมาแบบเฉียบพลัน เช่น หน้ามึด เวียนหัว อ่อนเพลีย แต่การวัดค่าความดันได้ต่ำ อาจพบได้ในคนปกติ ทุกเพศ ทุกวัย มักพบในผู้ที่มีร่างกายอ่อนแอ  เช่น ผู้หญิงอายุน้อย รูปร่างผอมได้ และผู้สูงอายุ หรือผู้ที่มีประวัติครอบครัวเป็นโรคความดันโลหิตต่ำ